หมวดทั่วไป
=> ใคร ใคร่ ค้า ค้า ใคร ใคร่ ขาย ขาย ... => ข้อความที่เริ่มโดย: health108 ที่ 09 สิงหาคม 2564, เวลา 17:54:02 น.

หัวข้อ: อาหารขยะ เพิ่มความเสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยาก
เริ่มหัวข้อโดย: health108 ที่ 09 สิงหาคม 2564, เวลา 17:54:02 น.
ผลวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) ได้เผยถึงความเสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยาก ในวัยรุ่นชายที่ชอบทานอาหารตะวันตก อย่าง พิซซ่า โดนัท ขนมทอดกรอบ แฮมเบอร์เกอร์ น้ำอัดลม มีอสุจิจำนวนน้อยกว่าปกติและสุขภาพอ่อนแอ หากเทียบกับวัยรุ่นอายุใกล้เคียงกันที่ทานแต่อาหารมีประโยชน์

เสี่ยงรักษาบุตรยากและอีกหลายโรค

อาหารประเภทนี้ไม่เพียงเพิ่มความเสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยาก https://ibabyfertility.com/infertility/ เพราะจากผลวิจัยหลายชิ้นได้ระบุถึงความเชื่อมโยงของการเกิดโรคมะเร็งและโรคหัวใจ แต่เหตุผลนี้ก็ไม่อาจหยุดยั้งความชอบในอาหารขยะได้ ทำได้แต่เตือนให้ทานอย่างระมัดระวัง

กลุ่มวัยรุ่นที่ทานอาหารมีประโยชน์ แทบไม่เผชิญความเสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยาก เนื่องจากพวกเค้ามีอสุจิที่สุขภาพแข็งแรงและมีจำนวนมาก ซึ่งเป็นผลมาจากอาหารที่รับประทานอย่างปลา ไก่ ผักผลไม้ และน้ำเปล่า ที่ส่งผลดีต่อร่างกาย

ทั้งนี้ ทีมนักวิจัยได้ศึกษาพฤติกรรมการกินของวัยรุ่น (https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99)สุขภาพดีที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการรักษาบุตรยาก อายุ 18-20 ปี จำนวน 3,000 คน ที่เข้าทดสอบสมรรถภาพร่างกายของหน่วยทหาร ซึ่งก็แสดงให้เห็นว่า วัยรุ่นกลุ่มนี้มีความแข็งแรงพอสมควร และอาหารการกินที่มีประโยชน์ก็ส่งผลต่อจำนวนอสุจิของพวกเค้า

สเปิร์มน้อยเพิ่มความเสี่ยงต่อการักษามีบุตรยาก และทำให้ผู้ชายดูเหมือนผู้หญิง

ผู้ชายที่มีจำนวนอสุจิ (https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%88%E0%B8%B4)น้อยกว่าระดับปกติ ไม่เพียงแค่เสี่ยงต่อการรักษามีบุตรยากและโรคแทรกซ้อน เพราะมีแนวโน้มสูงกว่าคนธรรมดาถึง 12 เท่า ที่ต้องเผชิญกับปริมาณฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน หรือฮอร์โมนเพศชายลดระดับลง จนส่งผลให้มวลกล้ามเนื้อลดลง นานวันเข้าความหนาแน่นของกระดูกก็ลดลง จนทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนตามมา.